บทความ

สร้าง QR Code ลิงก์ไปหา :

รูปภาพ
Google Classroom Microsoft Teams Metaverse Vlog Youtube Blogger

งานครั้งที่ 5 บทความต่างประเทศฐาน ERIC

First Fostering Digital Education among Teachers and Learners in Sri Lankan Schools Kunanayaka, S .  P . , & Weerakoon, W .  M .  S Abstract :       The Commonwealth Digital Education Leadership Training in Action (C-DELTA) the program provides a framework for fostering digital education for lifelong learning by developing digital education leaders. The Faculty of Education at the Open University of Sri Lanka implemented an action research project to promote the adoption of C-DELTA among teachers and students of secondary schools in Sri Lanka and evaluate its impact on the teaching-learning process. A group of 41 teachers participated in the intervention and implemented C-DELTA in their schools. A variety of data were collected throughout the process via questionnaires, concept maps, focus group interviews, implementation reports, and log records in the C-DELTA platform. Findings revealed that despite challenges, such as inadequate ICT facilities, time constraints, and limitation i

Connectivism and leadership: harnessing a learning theory for the digital age to redefine leadership in the twenty-first century

Abstract This manuscript provides a literature review of connectivism. It presents evidence and thinking in which connectivism, a new learning theory which has typically been used for online learning, is applied to leadership, with a provocative discussion on the yet unexplored opportunities to use connectivism to rede fi ne leadership in the twenty- fi rst century. The paper aims to bridge the gap between the contributions of digital learning in education and the fi eld of leadership theory and development. It seeks to apply the critical tenets of connectivism in education and learning to leadership theory and to stimulate a debate on new forms of leadership. ต้นฉบับนี้ให้การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความเชื่อมโยง มันนําเสนอหลักฐานและความคิดที่ connectivism ซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ใหม่ซึ่งโดยทั่วไปถูกนํามาใช้สําหรับการเรียนรู้ออนไลน์ถูกนําไปใช้กับความเป็นผู้นําด้วยการอภิปรายที่ยั่วยุเกี่ยวกับโอกาสที่ยังไม่ถูกสํารวจในการใช้ connectivism เพื่อกําหนดความเป็นผู้นําในศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด กระด

Workshop#4 (บทความวารสาร)

ภาวะผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ กานต์ บุญศิริ   และพจนารถ พรเจริญวิโรจน์ (2557). ภาวะผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ.  วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2557, หน้า 1-16 บทคัดย่อ ทุกหน่วยงานและองค์กรในปัจจุบันมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีนักบริหารองค์กรที่เป็นมืออาชีพ เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการองค์กรให้มีความก้าวทันโลกในยุคปัจจุบันที่มีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านต่างๆ เช่น ด้านเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร ที่ก่อให้เกิดระบบฐานความรู้ที่ใช้ในการแข่งขัน และการร่วมมือบริหารจัดการองค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องการนักบริหารมืออาชีพเพื่อช่วยนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ซึ่งหมายความรวมถึงการเป็นนักบริหารการศึกษาเช่นกัน การเป็นผู้บริหารการศึกษาที่ดีในปัจจุบันไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจากมีแรงกดดัน และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มากมายที่แตกต่างไปจากการบริหารการศึกษาที่ผ่านมา การเป็นนักบริหารการศึกษาจึงจำเป็นต้องมีทั้งความ

กลยุทธ์การสนับสนุนการนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากลุ่มภาคเหนือตอนล่าง

สุพรรณิการ์ หริ่งกัน, ขวัญดาว แจ่มแจ้ง และรัชนี นิธากร (2561). กลยุทธ์การสนับสนุนการนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากลุ่มภาคเหนือตอนล่าง . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2561, หน้า 240-252 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนับสนุนการนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) พัฒนากลยุทธ์การนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนทศ และ 3) ประเมินกลยุทธ์การนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโน่โลยีสารสนเทศ การวิจัยกระทำเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการ และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 278 คน และการสนทนากลุ่ม จำนวน 16 คน 2) การพัฒนากลยุทธ์การสนับสนุนการนิเทศฝึกงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการศึกษากลยุทธ์ของสถานศึกษาที่ประสบผลสำเร็จด้านการนิเทศฝึกงาน2 แห่ง แล้ววิเคราะห์สภาพแวดล้อมและจัดทำร่างกลยุทธ์โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ 3) ประเมินกลยุทธ์โดยประเมินด้านความสอดคล้อง ความเหมาะสมความเป็นไป่ได้ แล

อะควาโปนิกส์

  บทคัดย่อ